angeles.taxi

โรค ท้องร่วง ใน เด็ก: ท้องร่วง ในเด็ก ผู้ใหญ่ ดูแลอย่างไรไม่ให้ช็อกหมดสติ +สมุนไพรแก้ท้องเสีย - ชีวจิต

อฐ-บลอก-ป-พน-สวน
November 18, 2022

โรคอีสุกอีใส เป็นโรคติดต่อที่พบได้บ่อยในเด็ก (แต่ผู้ใหญ่ก็สามารถเป็นโรคอีสุกอีใสได้เช่นกัน) อาการของโรคมักจะไม่รุนแรง อาจมีไข้ต่ำๆ ตุ่มขึ้นตามร่างกายประมาณ 7-10 วันมักจะหายได้เอง โรคอีสุกอีใสมีวัคซีนป้องกัน แต่หากลูกรักของคุณเกิดป่วยเป็นโรคนี้ขึ้นมา คุณสามารถช่วยบรรเทาผื่นและตุ่มที่ขึ้นตามร่างกายจนทำให้ลูกรู้สึกไม่สบายตัวได้ด้วยการอาบน้ำให้เด็กๆ ด้วยน้ำเย็น และให้ลูกดื่มน้ำมากๆ โดยทั่วไปผู้ที่เคยเป็นอีสุกอีใสแล้วมักจะไม่กลับมาเป็นอีก 3. โรคหัด โรคหัดเกิดจากเชื้อไวรัส มักจะพบได้เสมอในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี แต่มักไม่พบในทารกอายุต่ำกว่า 6-8 เดือนเนื่องจากยังมีภูมิคุ้มกันที่ได้รับจากมารดาตั้งแต่อยู่ในครรภ์ อาการของโรคมักจะเกิดขึ้น 7-10 วัน โดยเด็กๆ จะมีไข้สูง ผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย อาการคล้ายโรคหวัด อย่างไรก็ตาม คุณสามารถพาลูกๆ ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดได้แนะนำให้ฉีดเข็มแรกเมื่อเด็กอายุได้ 9-12 เดือน และให้ฉีดเข็มที่ 2 เมื่ออายุได้ 4-6 ปี และข้อดีอย่างหนึ่งของโรคหัดก็คือ โดยมากแล้วเด็กๆ ที่ป่วยเป็นโรคหัดจะหายได้เองโดยไม่จำเป็นต้องกินยา 4. โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัส และแพร่ได้โดยมียุงลายเป็นพาหะ โดยทั่วไปเมื่อป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก อาการของโรคจะไม่รุนแรงนัก โดยจะมีไข้สูง และหายได้ภายในหนึ่งสัปดาห์ การป้องกันโรคไข้เลือดออกสามารถทำได้ด้วยการพ่นยากำจัดยุง ติดตั้งมุ้งลวดหรือมุ้งกันยุงตอนกลางคืน ซึ่งถือเป็นวิธีที่ปลอดภัยในการปกป้องเด็กๆ จากไข้เลือดออกเนื่องจากโรคนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน 5.

  1. ภาษาอังกฤษ
  2. เสิร์ฟ
  3. โรคท้องร่วงในเด็กเล็กและวิธีสังเกต

ภาษาอังกฤษ

โรค ท้องร่วง ใน เด็ก 3

ภาวะขาดน้ำเล็กน้อย ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ และอ่อนเพลียเล็กน้อย ชีพจรและความดันโลหิตปกติ 2. ภาวะขาดน้ำปานกลาง ผู้ป่วยจะอ่อนเพลียมาก ตาลึก ปากแห้ง ผิวหนังเหี่ยว ชีพจรเบาแต่เร็ว ความดันโลหิตต่ำ 3. ภาวะขาดน้ำรุนแรง ผู้ป่วยจะอ่อนเพลียมาก ลุกนั่งไม่ได้ ไม่ค่อยรู้สึกตัว กระสับกระส่าย ตัวเย็น มือเย็น เท้าเย็น ความดันต่ำมาก ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย ปากแห้ง ลิ้นแห้ง หายใจเร็ว การรักษา 1. งดอาหารรสจัดและอาหารที่มีกาก ให้กินอาหารอ่อน ย่อยง่าย ถ้าเป็นเด็กเล็กที่กินนมชง ให้งดนม 2 - 4 ชั่วโมง แล้วจึงให้กินนมได้ ส่วนเด็กเล็กที่กินนมแม่ ให้กินได้ตามปกติ 2. ถ้ายังดื่มน้ำได้ ให้ดื่มน้ำเกลือแร่ 3. สังเกตดูอาการของผู้ป่วย ซึ่งส่วนใหญ่จะค่อยๆ ดีขึ้น และหายเองภายใน 2 - 3 วัน แต่ถ้าไม่ดีขึ้น ควรรีบพาไปโรงพยาบาลทันที 4. ในรายที่มีอาการท้องร่วงเรื้อรัง ถ้ามีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด หรือถ่ายเป็นมูกเลือด ควรรีบไปพบแพทย์ ข้อแนะนำ 1. โรคท้องร่วงนี้ ถ้าพบในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ อาจมีอันตรายถึงเสียชีวิตได้ ถ้าให้การดูแลเบื้องต้นแล้วอาการไม่ดีขึ้น ให้รีบพาไปโรงพยาบาล 2. เมื่อเริ่มมีอาการท้องร่วง ควรสังเกตภาวะการขาดน้ำ ได้แก่ หิวน้ำบ่อย ปัสสาวะได้น้อย ผิวหนังแห้ง ควรดื่มน้ำเกลือแร่เป็นระยะ เพื่อช่วยลดอาการขาดน้ำ 3.

5 และตรวจทางกล้องจุลทรรศน์ดู leucocytes, parasitic ova, protozoa และ fat globules (ผิดปกติเมื่อพบว่ามากกว่า 40 globules/HPF) และส่งอุจจาระเพาะเชื้อ การส่งตรวจอื่นๆ ขึ้นอยู่กับข้อบ่งชี้จากประวัติ และการตรวจร่างกาย การรักษา 1. การรักษาตามสาเหตุ 2. รักษาทางโภชนาการในกรณีที่อาการ และการตรวจทางอุจจาระเข้าได้กับ lactase deficiency คือ stool pH < 6 พวก low lactose และ lactose free formula จะมีบทบาทมากในผู้ป่วยเหล่านี้ ได้แก่ นมถั่วเหลือง ทั้งที่ทำเอง และ commercial (ProsobeeR, IsomilR) Low lactose formula เช่น AlmironR เป็นต้น 3. รักษาตามอาการ 3. 1 Antidiarrheal drug ที่ได้ผลคือ loperamide (ImodiumR) 1หยด/น้ำหนักตัว 2 กิโลกรัม ทุก 8-12 ชั่วโมงทางปาก แต่ต้องระวังอย่างมากในการให้กับผู้ป่วย ambulatory เพราะถ้าให้ขนาดผิดจะมีอันตรายกดการหายใจได้ 3. 2 Cholestyramine (QuestranR) เป็น chloride salt ของ anion exchange resin ออกฤทธิ์จับกับ bile salts มีประโยชน์ในพวก cholerheic enteropathy จากการที่ ileum ส่วนปลายถูกตัดออกไป หรือเยื่อบุลำไส้ส่วนนี้อักเสบมาก จนถูกทำลาย และดูดซึม bile salt กลับไม่ได้ หรือจากการที่มี bacterial overgrowth เกิด deconjugation ของ bile salt ให้ขนาด 4-8 กรัม แบ่งเป็น 4 มื้อ ก่อนอาหารหรือน้ำนม รับไว้ในโรงพยาบาล เมื่ออาการไม่ดีขึ้นหลังจากให้การรักษาข้างต้นประมาณ 1-2 สัปดาห์ หรือผู้ป่วยเริ่มมีภาวะทุพโภชนาการและยังหาสาเหตุไม่ได้ ที่มา:ลัดดา เหมาะสุวรรณ

เพราะเด็กๆ มักมีเรื่องเจ็บป่วยอยู่เสมอ เราจึงอยากแนะนำให้คุณพ่อคุณแม่รู้จักกับโรคในเด็กต่างๆ ที่ถือเป็นวายร้ายของเจ้าตัวน้อย พร้อมลักษณะอาการ เพื่อให้เตรียมรับมือได้อย่างดีที่สุดหากเกิดขึ้นกับลูกรักของคุณ 1.

เสิร์ฟ

โรค ท้องร่วง ใน เด็ก png โรค ท้องร่วง ใน เด็ก 17

/กก.

โรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น เชื้อบิดซิเกลล่า (บิดไม่มีตัว) อหิวาต์ ซัมโมเนลล่า ฯลฯ 2. อาหารเป็นพิษ เนื่องจากอาหารที่ปรุงไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้มีสารพิษซึ่งอาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรียจากพืชหรือสารอื่นๆ ปะปนมาในอาหาร 3. โรคติดเชื้อในระบบหายใจ เช่น ไข้หวัด หลอดลมอักเสบ ปอดบวม 4. การขาดน้ำย่อย 5. โรคพยาธิต่างๆ หรือโปรโตซัว เช่น เชื้อบิด อะมีบ้า (หรือบิดมีตัว) 6. ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร หรือนอกระบบทางเดินอาหาร เช่น ต่อมธัยรอยด์ทำงานมากกว่าปกติ (คอพอกเป็นพิษ) ต่อมหมวกไตทำงานน้อยลง ฯลฯ พวกนี้มักมีอาการท้องร่วงไม่รุนแรง แต่ว่าเป็นเรื้อรัง 7. สาเหตุอื่นๆ เช่น กินยาระบายหรือยาถ่าย การติดเชื้อ (สาเหตุ 3 ข้อแรก) ดูเหมือนจะเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคท้องร่วงในทารกและเด็ก ในกรณีที่มีเชื้อโรคเข้าไปในกระเพาะลำไส้หรือที่เรียกว่า การติดเชื้อของระบบทางเดินอาหารนั้น ทำไมจึงทำให้เกิดมีอาการท้องร่วงได้ล่ะครับ เมื่อมีเชื้อโรคเข้าไปทำให้มีการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะลำไส้ จะทำให้ลำไส้มีความผิดปกติเกิดขึ้นดังนี้ คือ 1. มีการดูดซึมน้ำ และอาหารที่กินเข้าไปน้อยลง 2. มีการหลั่งของเหลวจากผนังลำไส้เข้ามาในโพรงลำไส้มากขึ้น 3.

โรคท้องร่วงในเด็กเล็กและวิธีสังเกต

การติดเชื้อ ซึ่งพบได้บ่อยกว่าสาเหตุอื่นๆ อาจเกิดจากเชื้อไวรัส บิด ไทฟอยก์ อหิวาต์ มาลาเรีย พยาธิบางชนิด เช่น ไทอาร์เดีย พยาธิแส้ม้า 2. อาหารเป็นพิษ โดยการปะปนของเชื้อโรคที่อยู่ในอาหาร 3. สารเคมี เช่น สารตะกั่ว สารหนูไนเตรท ยาฆ่าแมลง ทำให้อาเจียน ปวดท้องรุนแรง และชักร่วมด้วย 4. ยา เช่น ยาถ่าย ยาระบาย ยาปฏิชีวนะ 5. พืชพิษ เช่น เห็ดพิษ กลอย ท้องร่วงเรื้อรัง หมายถึง การที่มีอาการท้องร่วงติดต่อกันเกิน 3 สัปดาห์ หรือเป็นๆ หายๆ นานหลายๆ เดือน หรือเกือบทั้งปี ทั้งที่ร่างกายยังแข็งแรงดี อาจเกิดจากปัจจัย ดังนี้ 1. อารมณ์ ความเครียด 2. การติดเชื้อ เช่น บิด อะมีบา วัณโรคลำไส้ และพยาธิแส้ม้า 3. โรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน คอพอกเป็นพิษ 4. ขาดน้ำย่อย สำหรับย่อยน้ำตาลที่อยู่ในนม จึงทำให้เกิดอาการท้องเสียหลังดื่มนม 5. ความผิดปกติของการดูดซึมอาหารที่ลำไส้ 6. เนื้องอก มะเร็งลำไส้ หรือมะเร็งตับอ่อน 7. ยา เช่น รับประทานยาถ่าย หรือยาลดกรดเป็นประจำ 8. สาเหตุอื่นๆ เช่น ผ่าตัดกระเพาะอาหาร ทำให้การย่อยอาหารผิดปกติ การฝังแร่อาจทำให้เกิดอาการท้องเดินเรื้อรังได้ อาการแทรกซ้อน อาการที่สำคัญคือ ภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการช็อก ภาวะเลือดเป็นกรด ภาวะเกลือแร่ในร่างกายต่ำ ภาวะขาดน้ำแบ่งได้ 3 ระดับ ดังนี้ 1.

  1. แม็คโคร ขนทัพสินค้ากว่า 1,000 รายการ ลดราคา สูงสุด 50% รับตรุษจีน
  2. Exp asset หลอกลวง group
  3. ท้องร่วงในทารกและเด็กเล็ก - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน

ยาฆ่าเชื้อ การให้ยาฆ่าเชื้อควรอยู่ในพิจารณาของแพทย์ค่ะ เนื่องจากท้องร่วงในเด็กส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งไม่จำเป็นต้องรับยาฆ่าเชื้อ นอกจากนี้การใช้ยาฆ่าเชื้อบ่อยๆ โดยไม่จำเป็น จำทำให้เชื้อดื้อยา หรือเกิดการแพ้ยา ทำให้อาการท้องร่วงรุนแรงมากขึ้นได้ค่ะ 3. ยาหยุดถ่าย ไม่ควรให้ยาหยุดถ่าย เนื่องจากท้องร่วง เป็นกลไกการกำจัดเชื้อโรคออกจากลำไส้ ดังนั้นเมื่อให้ยาหยุดถ่าย จะทำให้เกิดการสะสมของเชื้อโรคและสารพิษจากเชื้อ ทำให้มีการกระจายของเชื้อออกนอกลำไส้ได้ ท้องร่วงในเด็ก ต้องเปลี่ยนนมไหม เด็กท้องร่วง ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนนมทุกรายค่ะ เด็กที่ทานนมแม่ให้ทานนมแม่ต่อไป แต่ดูดนมบ่อยขึ้นกว่าเดิม ส่วนเด็กที่เลี้ยงด้วยนมผสม หากอาการท้องเสียไม่รุนแรง หรือไม่ได้มีข้อบ่งชี้เช่นติดเชื้อโรต้า ก็ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนนม ส่วนใหญ่อาการมักดีขึ้นใน 2-3 วัน ค่ะ บทความโดย: พญ. พรนิภา ศรีประเสริฐ (กุมารแพทย์) ติดตามเรื่องเด็กๆ by หมอแอม ตอบทุกปัญหาเกี่ยวกับเด็ก ในรูปแบบ VDO "ทุกวันพฤหัสบดี" ได้ที่ ช่อง youtube: Mamaexpert official

หมายถึง การที่ผู้ป่วยมีอาการท้องร่วงมานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือ 1 สัปดาห์ ในเด็กที่มีทุพโภชนาการร่วมด้วยปัญหาหลักที่จะตามมาคือ ภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งยังผลให้อาการท้องร่วงรุนแรงขึ้นจนถึงแก่ชีวิตจากโรคแทรกซ้อน โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ เป็นต้น สาเหตุ มีมากมาย ได้แก่ 1. โรคติดเชื้อ 1. 1 แบคทีเรีย เช่น salmonellosis, intestinal tuberculosis 1. 2 โปรโตซัว เช่น giardiasis, amoebiasis 1. 3 ปรสิต เช่น capillariasis, trichuriasis 1. 4 เชื้อรา 2. Dietary factors เช่น overfeeding, food allergy 3. ภาวะพร่องเอนซัยม์ เช่น lactase deficiency, pancreatic insufficiency เป็นต้น 4. Decreased absorptive surface เช่น short bowel syndrome 5. Anatomical lesions เช่น Hirschprung's disease, blind loop syndrome, enteric fistula 6. Metabolic and endocrine disorders เช่น adrenal insuf¬ficiency, endocrine tumor, neuroblastoma, hyperthyroidism 7. Intractable diarrhea of infancy เป็นกลุ่มอาการท้องร่วงเรื้อรังนานกว่า 2 สัปดาห์ ในเด็กอายุต่ำกว่า 3 เดือน ซึ่งรักษาด้วยวิธี conventional แล้วไม่ได้ผล 8. Irritable colon of childhood พบบ่อยในเด็กอายุ 6-36 เดือน ผู้ป่วยถ่ายประมาณ 5-7 ครั้ง/วัน โดยที่มีภาวะโภชนาการปกติ และจะได้ประวัติเช่นเดียวกันในครอบครัว 9.

  1. โทรทัศน์ 29 นิ้ว ราคา 2020
  2. Banana it บางนา gif
  3. โครงการของในหลวง
  4. ผล บอล ไทย โอมาน
  5. คลอง ถม 2
  6. ส นับ เข่า ฟุตบอล ยูโร
  7. Hop inn พัทลุง ที่เที่ยว
  8. รถ ที่ ประหยัด น้ำมัน
  9. ดู ปี ยาง รถ
  10. ชมเฌย นครปฐม
  11. Finger crossed ความ หมาย 1
  12. รอย โดน ต บ
  13. โทษ ของ ชา มะนาว ชื่อวิทยาศาสตร์